วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์
1.1การทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานเบื้องต้นของระบบคอมพิวเตอร์ เริ่มจากผู้ใช้ทำการกรอกข้อมูลหรือคำสั่งผ่านทางอุปกรณ์รับข้อมูล
(Input Devices) ซึ่งข้อมูลหรือคำสั่งต่างๆที่รับเข้ามาจะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก (Memory) จากนั้นก็จะถูกนำไปประมวลผลโดยหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing) แล้วนำผลที่ได้จากการประมวลผลมาเก็บไว้ในหน่วยความจำแรม พร้อมทั้งแสดงออกทางอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) ดังนั้นระบบคอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ส่วนอุปกรณ์รับข้อมูล ส่วนประมวลผลกลาง หน่วยความจำ และอุปกรณ์แสดงผล
1.2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า
>>อ่านต่อ<<
1.3 หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
สิ่งแรก ที่ควรจะต้องคำนึงถึงมากที่สุดในการ Upgrade หรือการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่คือ ถามใจคุณก่อนว่าต้องการซื้อคอมพิวเตอร์มาเพื่อทำอะไร เหตุผลหลัก ๆ ของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในสมัยนี้ผมขอแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
1. สำหรับใช้งานทั่ว ๆ ไปเช่น พิมพ์งานเอกสาร ต่าง ๆ หรือสำหรับเล่นอินเตอร์เน็ต
2. สำหรับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ
3. สำหรับงานที่ต้องใช้ความเร็วของ CPU สูง เช่นการใช้ทำงานเกี่ยวกับ CAD หรือการ Encode ต่าง ๆ
4. สำหรับใช้เป็นเครื่อง Server ดังนั้น คำถามแรกสำหรับคุณ คือต้องการที่จะ Upgrade หรือซื้อคอมพิวเตอร์ มาเพื่อใช้สำหรับทำอะไร แล้วก็เลือกอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับงานของคุณ (โดยที่อาจจะมีการเผื่อการ Upgrade ในอนาคตด้วย)
หลักการเลือกซื้อ CPU สำหรับคอมพิวเตอร์ การเลือก CPU สำหรับคอมพิวเตอร์ นี้ควรจะเป็นสิ่งแรก ที่ต้องนึกถึงก่อนอย่างอื่น
>>อ่านต่อ<<
1. สำหรับใช้งานทั่ว ๆ ไปเช่น พิมพ์งานเอกสาร ต่าง ๆ หรือสำหรับเล่นอินเตอร์เน็ต
2. สำหรับการเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ
3. สำหรับงานที่ต้องใช้ความเร็วของ CPU สูง เช่นการใช้ทำงานเกี่ยวกับ CAD หรือการ Encode ต่าง ๆ
4. สำหรับใช้เป็นเครื่อง Server
หลักการเลือกซื้อ CPU สำหรับคอมพิวเตอร์
>>อ่านต่อ<<
1.4ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการทำงานของหลาย
องค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอผลงาน รวมทั้งการ
ออกแบบงานต่างๆซึ่งลักษณะของงานจะมีความแตกต่างกันออกไป
เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใและ
คุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไป ผู้ใช้ควรศึกษาถึงหลักการเลือกซื้อ
คอมพิวเตอร์ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึงและทำความ
เข้าใจอย่างละเอียดก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ซึ่งอาจ
ปฎิบัติตามแนวทาง ดังนี้
องค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอผลงาน รวมทั้งการ
ออกแบบงานต่างๆซึ่งลักษณะของงานจะมีความแตกต่างกันออกไป
เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใและ
คุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไป ผู้ใช้ควรศึกษาถึงหลักการเลือกซื้อ
คอมพิวเตอร์ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่ควรคำนึงถึงและทำความ
เข้าใจอย่างละเอียดก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ซึ่งอาจ
ปฎิบัติตามแนวทาง ดังนี้
๓.๑ การสำรวจระดับการใช้งานคอมพิวเตอร์สำหรับการสำรวจระดับ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสม
2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
>>อ่านต่อ<<
๑. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำนั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาของคอมพิวเตอร์ ใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ กล่าวคือ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ผู้ใช้มองไม่เห็นและสัมผัสไม่ได้ แต่สามารถรับรู้การทำงานได้ ต่างจากฮาร์ดแวร์ (Hardware)
๒. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) หมายถึงโปรแกรมที่ทำหน้าที่จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์
>>อ่านต่อ<<
2.2 ซอฟต์แวร์ระบบ
คือซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการประสานงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ให้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ(operating sytem) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์
2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก
>>อ่านต่อ<<
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก
>>อ่านต่อ<<
วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
2.4 การจัดหาซอฟต์แวร์เพื่อมาใช้งาน
โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อโดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือกซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้
1แบบสำเร็จรูป ( Packaged หรือ Ready – made Software ) วิธีการนี้ผู้ใช้งานสามารถที่จะเข้าไปเดินหาซื้อได้กับตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถที่จะหยิบเลือกซื้อได้เมื่อพอใจในตัวสินค้าซอฟต์แวร์นั้น ๆ และนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือก
>>อ่านต่อ<<
โดยปกติแล้วเราสามารถหาซอฟต์แวร์มาใช้งานได้หลาย ๆ วิธี ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของการสั่งซื้อโดยตรงกับบริษัทผู้ผลิตหรือใช้ตัวอย่างทดลองจากการดาวน์โหลดบนอินเทอร์เน็ตได้ จึงพอสรุปวิธีการเลือกซอฟต์แวร์มาใช้งานได้ดังนี้
1แบบสำเร็จรูป ( Packaged หรือ Ready – made Software ) วิธีการนี้ผู้ใช้งานสามารถที่จะเข้าไปเดินหาซื้อได้กับตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทผู้ผลิตโดยตรง ซึ่งมักจะมีการเตรียมบรรจุภัณฑ์และเอกสารคู่มือการใช้งานไว้อยู่แล้ว ผู้ใช้สามารถที่จะหยิบเลือกซื้อได้เมื่อพอใจในตัวสินค้าซอฟต์แวร์นั้น ๆ และนำไปติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยทันที กรณีที่ไม่สามารถเลือก
>>อ่านต่อ<<
หน่วยการเรียนรู้ที่3 การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล
ในการเรียนการทำงาน และการดำเนินชีวิตประจำวันของคนเรา ต้องมีการพูดคุย บอกความต้องการ ความรู้สึก และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระระหว่างกัน เพื่อให้เกิดประสบการณ์และความรอบรู้
ดังนั้น หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างผู้ส่ง ข้อมูลข่าวสาร สื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสารและผู้รับ เพื่อให้ผู้รับ รับรู้ข้อมูลข่าวสารถูกต้องและเกิดความเข้าใจตรงกันกับผู้ส่งนั้นเอง
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ผ่านสื่อกลางไปยังผู้
3.2การสื่อสารข้อมูล(Data Communication)
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน |
วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีการแปลงสัญญาณนั้น กลับมาให้อยู่ในรูปที่มนุษย์ สามารถที่จะเข้าใจได้ ในระหว่างการส่งอาจจะมีอุปสรรค์ที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งรบกวน (Noise) จากภายนอกทำให้ข้อมูลบางส่วนเสียหาย หรือผิดเพี้ยนไปได้ซึ่งระยะทางก็มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้วยเพราะถ้าระยะทางในการส่งยิ่งมากก็อาจจะทำให้เกิดสิ่งรบกวนได้มากเช่นกัน จึงต้องมีหาวิธีลดสิ่งรบกวน เหล่านี้ โดยการพัฒนาตัวกลางในการสื่อสารที่จะทำให้เกิดการรบกวนน้อยที่สุด |
องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบ องค์ประกอบขั้นพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจำแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกำเนิดข่าวสาร (source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล และเสียงเป็นต้น ในการติดต่อสื่อสารสมัยก่อนอาจจะใช้ >>อ่านต่อ<< |
3.3อุปกรณ์ที่สำคัญในระบบคอมพิวเตอร์
1.โมเด็ม (Modem)
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation) โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator)โมเด็มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันมี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจุบันทำงานเป็นทั้งโมเด็มและ เครื่องโทรสาร เราเรียกว่า Faxmodem
โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เมื่อข้อมูลถูกส่งมายังผู้รับละแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นแอนะล็อก เมื่อต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องสื่อสาร กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณดิจิตัลให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดูเลชัน (Modulation) โมเด็มทำหน้าที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสัญญาณดิจิตัล เรียกว่า ดีมอดูเลชัน (Demodulation) โมเด็มหน้าที่ ดีมอดูเลเตอร์ (Demodulator)โมเด็มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันมี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจุบันทำงานเป็นทั้งโมเด็มและ เครื่องโทรสาร เราเรียกว่า Faxmodem
3.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การ
สิ่ง
|
3.5 ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup)
แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์ใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างกว้างขวาง และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
1. การใช้อุปกรณ์ร่วมกัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้ผู้ใช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ เป็นต้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื้ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้ผู้ใช้ สามารถใช้อุปกรณ์ รอบข้างที่ต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่วมกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื่องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ เป็นต้น ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องซื้ออุปกรณ์ที่มีราคาแพง เชื่อมต่อพ่วงให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557
เอซุส กลุ่มผลิตภัณฑ์ ซิสเต็มส์ บิสซิเนส ยูนิต สยายปีกแชมป์โน้ตบุ๊คอันดับ 1 ในประเทศไทย พร้อมโชว์ศักยภาพผู้นำอันดับ 1 ของโลกในทุกไลน์ผลิตภัณฑ์
มร.เร็กซ์ ลี ผู้อำนวยการฝ่ายขายภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กลุ่มธุรกิจซิสเต็มส์ บริษัท เอซุสเทค คอมพิวเตอร์ เปิดเผยว่า “จากรายงาน GFK เดือนพฤศจิกายน 2556 เอซุสได้กลายเป็นแบรนด์โน้ตบุ๊คอันดับ 1 ที่สามารถแซงคู่แข่งทั้งหมดได้เป็นครั้งแรกของตลาดผู้บริโภคในเมืองไทย ทั้งในแง่ของจำนวนและมูลค่าของยอดขาย โดยมีส่วนแบ่งตลาดอยู่ที่ 19.8% และส่วนแบ่งมูลค่าอยู่ที่ 20.2% ตามลำดับ”
เอซุสเป็นผู้นำตลาดผลิตภัณฑ์พีซี ด้วยนวัตกรรมของเราที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพและความสำเร็จในช่วงที่ผ่านมา เป็นสิ่งยืนยันให้เป็นที่ยอมรับทั่วโลก อาทิเช่น
• เอซุส ผู้นำผลิตภัณฑ์มาเธอร์บอร์ดอันดับ 1 ของโลก
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์เน็ตบุ๊ค, อี พีซี (Eee PC) ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกในปี 2007
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์แท็บเล็ตที่ถอดแยกออกจากกัน ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ แพด (ASUS Transformer Pad) ในปี 2010
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์สมาร์ตโฟน แบบ 2-in-1 ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส แพดโฟน (ASUS Padfone) ในปี 2012
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์โน๊ตบุ๊ค 2 หน้าจอ ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส ไทชิ (ASUS Taichi) ในปี 2012
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต และพีซี แบบ 3-in-1 ครั้งแรกของโลก ด้วย 2 ระบบปฏิบัติการ ในรุ่น เอซุส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ บุ๊ค ทรีโอ (ASUS Transformer Book Trio) ในปี 2013
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์เน็ตบุ๊ค, อี พีซี (Eee PC) ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกในปี 2007
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์แท็บเล็ตที่ถอดแยกออกจากกัน ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ แพด (ASUS Transformer Pad) ในปี 2010
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์สมาร์ตโฟน แบบ 2-in-1 ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส แพดโฟน (ASUS Padfone) ในปี 2012
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์โน๊ตบุ๊ค 2 หน้าจอ ตัวแรกของโลก ในรุ่น เอซุส ไทชิ (ASUS Taichi) ในปี 2012
• เอซุส ผู้สร้างผลิตภัณฑ์โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต และพีซี แบบ 3-in-1 ครั้งแรกของโลก ด้วย 2 ระบบปฏิบัติการ ในรุ่น เอซุส ทรานส์ฟอร์มเมอร์ บุ๊ค ทรีโอ (ASUS Transformer Book Trio) ในปี 2013
นอกจากนี้ เอซุสยังได้รับรางวัลการันตีจากองค์กรชั้นนำต่างๆทั่วโลก รวมทั้งสิ้น 4,168 รางวัลในปี 2012 อีกด้วย “จากนี้ไปเรายังคงมุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้แนวคิด Design Thinking ที่เริ่มจากความต้องการของผู้บริโภคนั่นเอง” มร.เร็กซ์ กล่าว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)